สมรสเท่าเทียม ใช้บังคับ ม.ค. ปีหน้า 2568 เรื่องใดใช้สิทธิได้ทันที
สมรสเท่าเทียม เรื่องไหนต้องรอแก้กฎหมายเพิ่มเติม
สมรสเท่าเทียม เป็นเวลา 9 เดือน นับตั้งแต่สภาผู้แทนราษฎรของไทย บาคาร่า png รับหลักการ ร่างกฎหมาย สมรสเท่าเทียม ในวาระแรก และเมื่อวันที่ 24 ก.ย. ที่ผ่านมา พระราชบัญญัติ แก้ไขเพิ่มเติม ประมวลกฎหมายแพ่ง และพาณิชย์ (ฉบับที่ 24) พ.ศ. 2567 ได้รับการประกาศ ในราชกิจจานุเบกษา โดยจะมีผลใช้บังคับ ในอีก 120 วันข้างหน้า หรือวันที่ 22 ม.ค. 2568
กฎหมายสมรสเท่าเทียมนี้ ไม่เพียงมอบสิทธิ ให้กับบุคคลหลากหลายทางเพศ (LGBTQI+) แต่มาพร้อมกับหน้าที่ ในฐานะคู่สมรส โดยสิทธิ และหน้าที่ต่าง ๆ ในหลายด้าน จะเป็นไปตามสิทธิ ที่คู่สมรสได้ในกฎหมายอื่น ๆ ทันที ขณะที่บางกรณี แม้จะสามารถจดทะเบียนสมรสได้แล้ว แต่ยังต้องรอ การแก้ไข กฎหมายอื่น ๆ ให้สอดคล้องกัน บาคาร่า ไม่มีขั้นต่ำ
ในวาระ ที่การจดทะเบียนสมรสเท่าเทียม ใกล้จะเกิดขึ้นจริง ในต้นปีหน้า บีบีซีไทย สำรวจสิทธิต่าง ๆ ที่คู่สมรส LGBTQI+ จะได้รับจากกฎหมายฉบับนี้
สิทธิและหน้าที่ที่มีผลทันที เมื่อกฎหมายสมรสเท่าเทียมใช้บังคับ
- การหมั้น – การหมั้นจะทำได้ต่อเมื่อบุคคลทั้งสองฝ่ายมีอายุ 18 ปีบริบูรณ์แล้ว (มาตรา 1435)
- การสมรส – การสมรสจะกระทำได้ เมื่อบุคคลทั้งสองฝ่าย มีอายุ 18 ปีบริบูรณ์แล้ว แต่ในกรณี มีเหตุอันสมควร ศาลอาจอนุญาต ให้ทำการสมรสก่อนนั้นได้ (มาตรา 1448)
- การจดทะเบียนสมรส – การสมรสจะทำได้ต่อเมื่อบุคคลสองคนยินยอมเป็นคู่สมรสกันและต้องแสดงการยินยอมนั้นให้ปรากฏโดยเปิดเผยต่อหน้านายทะเบียนและให้นายทะเบียนบันทึกความยินยอมนั้นไว้ด้วย (มาตรา 1458)
- การหย่า – เมื่อได้จดทะเบียนสมรสตามประมวลกฎหมายนี้ การหย่าโดยความยินยอมจะสมบูรณ์ต่อเมื่อคู่สมรสได้จดทะเบียนการหย่านั้นแล้ว (มาตรา 1515)
- การจัดการทรัพย์สินระหว่างคู่สมรสที่ทำมาหาได้ร่วมกันหรือดูแลผลประโยชน์จากทรัพย์สิน และการจัดการหนี้สินร่วมกัน
- สิทธิได้รับประโยชน์และสวัสดิการจากรัฐในฐานะคู่สมรส
- การให้ความยินยอมต่อการรักษาพยาบาล
- การเป็นผู้อนุบาลหรือผู้พิทักษ์ ในกรณีที่ศาลสั่งให้คู่สมรสฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งเป็นคนไร้ความสามารถหรือคนเสมือนไร้ความสามารถ (มาตรา 1463)
- การอุปการะเลี้ยงดูคู่สมรส – ค่าอุปการะเลี้ยงดูระหว่างคู่สมรส หรือระหว่างบิดามารดากับบุตรนั้นย่อมเรียกจากกันได้ในเมื่อฝ่ายที่ควรได้รับอุปการะเลี้ยงดู ไม่ได้รับการอุปการะเลี้ยงดูหรือได้รับการอุปการะเลี้ยงดูไม่เพียงพอแก่อัตภาพ (มาตรา 1598/38)
- การรับบุตรบุญธรรมร่วมกันในฐานะคู่สมรส ใช้สิทธิตามกฎหมายแพ่งฯ ในมาตราว่าด้วยการรับบุตรบุญธรรม
รับบุตรบุญธรรมร่วมกันได้ทันที
ภายใต้กฎหมาย สมรส เท่าเทียม หรือประมวลกฎหมายแพ่ง และพาณิชย์ฉบับใหม่ คู่สมรส LGBTQI+ ที่จดทะเบียน ตามกฎหมายนี้ สามารถรับบุตรบุญธรรม ร่วมกันได้ ตามกฎหมาย รับบุตรบุญธรรม ที่มีอยู่เดิม นั่นคือ ประมวลกฎหมายแพ่งฯ หมวด 4 ว่าด้วยบุตรบุญธรรม